หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต
สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์
  หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
สาขาวิชาการบริหารจัดการความมั่นคงปลอดภัย
  หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์
  หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต
สาขารัฐประศาสนศาสตร์
 
 
 
ชื่อปริญญาและอักษรย่อ
   

ชื่อเต็ม (ไทย) : รัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต
ชื่อย่อ (ไทย) :รป.บ.
ชื่อเต็ม (อังกฤษ) : Bachelor  of   Public  Administration
ชื่อย่อ (อังกฤษ) : B.P.A

  ความพิเศษของหลักสูตร
   
  • สอนโดยอาจารย์ผู้มีความรู้และเชี่ยวชาญ
  • หลักสูตรได้รับการรับรองจากสภาทนายความและสำนักอบรมกฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา  อัตราเงินเดือนของบัณฑิตเป็นไปตามเกณฑ์ของ  ก.พ.
  • อาจารย์พิเศษได้แก่  ผู้พิพากษา  พนักงานอัยการ  ตำรวจ  ทนายความ  นิติกร  นักวิชาการศาลปกครอง  ผู้เชี่ยวชาญทางกฎหมายอาญาและภาษีอากร
  • จัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร  ได้แก่  กิจกรรมดูงาน  ศาล  (ยุติธรรม  ศาลปกครอง  ศาลเยาวชน  ศาลแขวง  ศาลแรงงาน)  องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น  สำนักงานอัยการ  สภาทนายความ  สำนักอบรมกฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา
  • กิจกรรมทำนุบำรุงศิปวัฒนธรรม  ศึกษาดูงานเชิงอนุรักษ์ธรรมชาติและบริการวิชาการ
  • กิจกรรมเสริมการเรียนการสอน  เช่น  ส่งเสริมให้นักศึกษาเข้าแข่งขันตอบปัญหา  (ศาลแรงงานกลาง  สภาทนายความ 
  แนวทางการประกอบอาชีพ
   

ผู้ที่สำเร็จการศึกษาสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์สามารถประกอบอาชีพได้หลากหลาย  ได้แก่  

  • เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป  ทุกกระทรวง 
  • เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน 3 ทุกกระทรวง 
  • บุคลากร 3 ทุกกระทรวง 
  • พนักงานคุมประพฤติ 
  • เจ้าพนักงานปกครอง 3 (ปลัดอำเภอ) 
  • นักบริหารงานเทศบาล (ปลัดเทศบาล) 
  • ปลัด อบต. 
  • นักวิชาการ 3 กระทรวงศึกษาธิการ 
  • นักวิชาการแรงงาน 3 (ด้านรัฐประศาสสนศาสตร์) กระทรวงแรงงาน 
  • นักวิชาการที่ดิน 3 (ด้านรัฐประศาสสนศาสตร์) กรมที่ดิน 
  • นักพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 3 ทุกกระทรวง 
  • นักพัฒนาและฝึกอบรม (ทุกกระทรวง) 
  • เจ้าหน้าที่ทะเบียนราษฎร 3 (กรมการปกครอง อบต. เทศบาล) 
  • นักพัฒนาชุมชน 3 (กรมการปกครอง อบต. เทศบาล) 
  • เจ้าหน้าที่ทะเบียนและบัตร 3  
  • ข้าราชการตำรวจ 
  • นักวิชาการประชาสัมพันธ์ 3
คุณสมบัติของผู้เรียน
   
  • ผู้มีสิทธิ์เข้าศึกษาเป็นนักศึกษาต้องผ่านขั้นตอนการสมัครเข้าศึกษา  และผ่านการสอบข้อเขียน การสอบสัมภาษณ์และการตรวจร่างกาย
  • เข้าศึกษาโดยวิธีใดวิธีหนึ่งตามระเบียบวิทยาลัยนครราชสีมา
  • การสอบคัดเลือกร่วมกับกระทรวงศึกษาธิการ

ระยะเวลาในการศึกษา
   
ภาคปกติ
      - ใช้เวลา 4 ปี
ภาคสมทบ (Block Course)
      - ใช้เวลา 3 ปี